วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บทที่ 6 การสร้างรายงาน

การสร้างรายงาน
ประเภทของรายงาน  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
  1. รายงานแบบตาราง (Tabular Report) เป็นรายงานที่มีการจัดเรียงข้อมูลเหมือนตาราง                      ซึ่งจะเรียงฟิลด์จากซ้ายไปขวาของรายงาน
    โดยจะแสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดในหนึ่งหน้ารายงาน
  2. รายงานแบบหลายคอลัมน์ (Columnar Report)  เป็นรายงานที่แสดงข้อมูล                                      ซึ่งจะจัดเรียงฟิลด์จากบนลงล่าง โดยจะแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
  3. รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) เป็นรายงานแบบป้ายฉลากที่เรียกว่าเลเบล                         สำหรับติดหน้าซองต่า งๆ เช่น ป้ายติดซองจดหมาย เลเบลต่าง ๆ ป้ายฉลากสินค้า เป็นต้น
มุมมองของรายงาน
  1. มุมมองรายงาน(Report View) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับการแสดงผลในรูปแบบรายงานเท่านั้น              ไม่สามารถแก้ไขรายงานได้
  2. มุมมองแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ (Print Preview) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับแสดงตัวอย่าง                รายงานก่อนพิมพ์ โดยมีลักษณะเหมือนกับที่เห็นบนหน้าจอ
  3. มุมมองเค้าโครง (Layout View)  มีลักษณะคล้ายกับมุมมองรายงาน ในการแสดงผลข้อมูล                และคล้ายกับมุมมองออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของรายงานได้
  4. มุมมองออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองที่ใช้ในการออกแบบและปรับแต่งรูปแบบ                            การแสดงผลของรายงานโดยสามารถเพิ่มตัวควบคุมต่างๆ เข้ามาในรายงานได้
การสร้างรายงาน
       ในการสร้างรายงานเพื่อใช้สรุปข้อมูลหรือแสดงผลจะมีลักษณะคล้ายกับฟอร์ม คือ                                 สามารถกำหนดเงื่อนไขของข้อมูลเพื่อเลือกดูเฉพาะข้อมูลที่สนใจได้ แต่จะแตกต่างกันตรงที่                             ฟอร์มใช้แสดงผลข้อมูลที่หน้าจอและแก้ไขข้อมูลได้ ส่วนรายงานพิมพ์ได้แต่ไม่สามารถแก้ไข                               ข้อมูลได้
  1. การสร้างรายงานอย่างง่ายด้วยปุ่มคำสั่ง Report
  2. การสร้างรายงานเปล่า
  3. การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง
  4. การสร้างรายงานแบบเลเบล
  5. การสร้างรายงานด้วยตัวเองในมุมมองออกแบบ
 1. การสร้างรายงานด้วยปุ่มคำสั่งรายงาน Report
  1. คลิกเลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างรายงาน
  2. ที่แท็บ สร้าง (Create) คลิกไอคอนคำสั่งรายงาน (Report)

3. จากนั้นจะแสดงหน้าจอรายงานขึ้นมาอัตโนมัติ
4. คลิกปุ่มบันทึก และตั้งชื่อให้กับรายงาน เช่น rpt_product
5. คลิกปุ่มตกลง

 

2. การสร้างรายงานเปล่าในมุมมองเค้าโครง (Layout View)
คลิกที่แท็บ สร้าง(Create) คลิกไอคอนคำสั่ง รายงานเปล่า (Bank Report)

  1. คลิกเลือกตารางที่ต้องการแสดงโดยคลิกที่เครื่องหมาย + (บวก) ในหน้าต่างเขตข้อมูลในที่นี้                        เลือกตาราง tbl_product
  2. จากนั้นเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง 
การบันทึกรายงาน

  1. บันทึกรายงาน คลิกที่ไอคอน    
  2. ตั้งชื่อรายงาน rpt_product
  3. คลิกปุ่ม OK
3. การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง (Report Wizard)
  1. คลิกที่แท็บ สร้าง(Create)
  2. คลิกไอคอนคำสั่ง ตัวช่วยสร้างรายงาน (Report Wizard)
  3. คลิกเลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการ
  4. คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม > เพื่อเลือกที่ละฟิลด์ หรือคลิกที่ปุ่ม >>                       เพื่อเลือกฟิลด์ทั้งหมด
  5. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)




6.คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
7. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
















8. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
















9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
















10. เลือกรูปแบบ คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)















11.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product

















ตัวอย่าง รายงานสินค้า


4. การสร้างรายงานแบบลาเบล (Label Wizard)   
       
  1. เลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการสร้างเป็นลาเบล                                                                            
  2. คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)
  3. คลิกไอคอนคำสั่ง ป้ายชื่อ (label)

    1. กำหนดขนาดและชนิดของเลเบล
    2. กำหนดรูปแบบของข้อความที่จะแสดงในเลเบล
    3. คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง
    4. เลือกรูปแบบการแสดง
    5. ตั้งชื่อรายงาน
    6. คลิกปุ่ม เสร็จสิ้น Finish  


แบบฝึกปฏิบัติ
คำชี้แจง  ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการสร้างรายงานจากตาราง

    • ให้นักเรียนสร้างรายงานข้อมูลจากตาราง tbl_product    บันทึก ชื่อ rpt_product                         (การสร้างรายงานด้วยปุ่มคำสั่งรายงาน Report)
    • ให้นักเรียนสร้างรายงานข้อมูลจากคิวรี่                        บันทึก ชื่อ rpt_product1                              (การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง)

วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บทที่ 5 การสร้างฟอร์ม (Form)

บทที่ 5 การสร้างฟอร์ม (Form)


1. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับบฟอร์ม (Form) 


1.1 ความหมายของฟอรม (Form) 
      ฟอรม  (Form)  เปนเครื่องมือในการแสดงขอมูลและติดตอกับผูใชงานที่มีความสามารถใน
การทำงานกับข้อมูลในตารางแทนมุมมองแผ่นข้อมูล (Table Datasheet) 


1.2 ขอเสียของมุมมองแผ่นข้อมูล 
       - การเพิ่ม แกไข และลบขอมูลในมุมองแผนขอมูล ทําไดไมสะดวกและยังสรางความสับสน เมื่อเราต้องทำงานกับข้อมูลจำนวนหลาย ๆ ระเบียน
      - ไมสามารถทํางานกับขอมูลบางชนิดไดอยางมีประสิทธิภาพเทาที่ควร เชน รูปภาพ เสียง  
      - การทำงานในมุมมองนี้เหมาะกับผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล แต่ไม่เหมาะกับผู้ใช้งาน
      - แอพพลิเคชั่นที่เราจะสรางขึ้น  เนื่องจากผูใชงานจะไมมีความรูเกี่ยวกับฐานขอมูล  ตาราง  
และฟิลด์


1.3 ประโยชน์ของฟอร์ม
      - สามารถกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของฟอรมใหเหมาะสมกับจุดประสงคในการใชงานได
ทําใหการใชงานฟอรมทํางานกับขอมูลในฐานขอมูลทําไดดีกวามุมมองแผนขอมูล เชน  ถาไมตองการใหพนักงานทั่วไปเปดดูขอมูลเงินเดือนของพนักงานคนอื่น ๆ ได  ในฟอรมเราสามารถกํานดใหพนักงานคนนี้ดูได้เฉพาะข้อมูลเงินเดือนของตัวเองเท่านั้น 
      - จัดระเบียบในการแสดงผลฟลดตาง ๆ ไดตามความตองการของเราเอง  ซึ่งเราจะใหแสดง
ฟลดนี้ในตำแหน่งไหนบนฟอร์มก็ได้อย่างอิสระ เช่น ฟิลด์ชื่อลูกค้าควรจะอยู่บนฟิลด์ที่อยู่ลูกค้า 
      - สามารถเพิ่มความสนใจใหแกการแสดงสื่อขอมูลบางอยางได  เชน  การแสดงรูปภาพชนิด
สินคา 
      - เราสามารถควบคุมการทํางานกับขอมูลในฟอรมไดดวยแมโครหรือคําสั่ง  VBA  (Visual 
Basic  for  Applications)  เชน  ในฟอรมอาจจะมีคอนโทรลปุมคําสั่ง  ซึ่งถาเราคลิกเมาสแลวจะเรียกแมโครที่สั่งพิมพ์รายงานออกมา



2. ประเภทของฟอร์ม แบ่งออกเป็น 6 ชนิด
  1. ฟอร์มสำหรับป้อนข้อมูล
  2. ฟอร์มแบบกำหนดเอง
  3. ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล
  4. Main / Sub forms
  5. Pivot Table Forms
  6. Pivot Chart Forms
3. มุมมองของฟอร์ม
  1. มุมมองเค้าโครง (Layout View)
  2. มุมมองการออกแบบ (Design View)
  3. มุมมองฟอร์ม (Form View)  
4. การสร้างฟอร์มมี 3 วิธี คือ

วิธีที่ 1 การสร้างฟอร์มเดี่ยว
  1. เลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างฟอร์ม
  2. คลิกเลือก สร้าง (Create)
  3. เลือกไอคอน Form
  4. บันทึกฟอร์ม 

















การบันทึกฟอร์ม




























วิธีที่ 2 การสร้างฟอร์มแยก
        1. คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)
        2. คลิกเลือกตารางที่ต้องการสร้าง
        3. คลิกปุ่มฟอร์มแยก (Split Form)
        4. บันทึกตั้งชื่อฟอร์ม


วิธีที่ 3 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง(Form Wizard)
    1. คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)
    2. คลิกไอคอนคำสั่ง ฟอร์มเพิ่มเติม (More Form) เลือกตัวช่วยสร้างฟอร์ม (Form Wizard)
3.คลิกเลือกตาราง tbl_product
4. เลือกฟิลด์ทั้งหมด
5. ถัดไป (Next)
6. เลือกแบบคอลัมน์ (Columnar)
7. ถัดไป (Next)
 
8. เลือกรูปแบบ
9. ถัดไป (Next)

10. ตั้งชื่อฟอร์ม Frm_product
11. คลิกปุ่ม เสร็จสิ้น (Finish)

ตัวอย่างฟอร์ม 

                    

แบบฝึกปฏิบัติ

คำชี้แจง  ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการสร้างฟอร์มจากตาราง

1. ให้นักเรียนสร้างฟอร์มรับข้อมูลจากตาราง tbl_product โดยใช้วิธีการสร้างฟอร์มเดี่ยว 
    บันทึก ชื่อ frm_product1
2. ให้นักเรียนสร้างฟอร์มรับข้อมูลจากตาราง tbl_product โดยใช้วิธีการสร้างฟอร์มแยก 
    บันทึก ชื่อ frm_product2
3. ให้นักเรียนสร้างฟอร์มรับข้อมูลจากตาราง tbl_product โดยใช้วิธีการสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง  
    บันทึก ชื่อ frm_product3


วิธีการส่งงาน
\\192.168.40.29 ส่งงานในโฟลเดอร์ ส่งงาน สร้างฟอร์ม

วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

แบบฝึกปฏิบัติ บทที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม

คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาเนื้่อหาเรื่อง การจัดการข้อมูลด้วยคิวรี
                2. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือ Query

1. ศึกษาเนื้อหา
* การสร้างคิวรีโดยใช้ตัวช่วย
  1. คลิกที่เมนู สร้าง  (Create)
  2. เลือก ตัวช่วยสร้างแบบสอบถาม (Query Wizard)
  3. เลือก ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามอย่างง่าย (Simple Query Wizard)
  4. คลิก OK


5. เลือกตารางสินค้า และตารางประเภทสินค้า
6. ตาราง tbl_product  เลือกฟิลด์ product_ID และ product_name
ตาราง tbl_type  เลือกฟิลด์ type_name



7. คลิกปุ่ม  Next ถัดไป
8. ตั้งชื่อคิวรี  qry_product_type
9. คลิกปุ่ม  Finish


ตัวอย่าง

                  

ฝึกปฏิบัติ 
ข้อที่ 1. ให้นักเรียนสร้างแบบสอบถามอย่างง่าย (การสร้างคิวรีโดยใช้ตัวช่วย)
  • เลือกตารางสินค้า และตารางประเภทสินค้า
  • ตาราง tbl_product  เลือกฟิลด์ product_ID และ product_name
  • ตาราง tbl_type  เลือกฟิลด์ type_name
  • บันทึกชื่อคิวรี  qry_product_type


2. ศึกษาเนื้อหา
** สร้างคิวรีในมุมมองออกแบบ Query Design
  1. คลิกที่เมนู สร้าง  (Create)
  2. เลือก มุมมองออกแบบ (Query Design)
  3. เลือกตารางตาราง tbl_product  tbl_product  ตาราง tbl_type 
  4. คลิก เพิ่ม (Add)


5. คลิกแล้วลาก ฟิลด์ product_ID , product_name , product_price จากตาราง tbl_product
เลือกฟิลด์ type_name จากตาราง tbl_type
6. คลิกปุ่ม เรียกใช้ (RUN)




ตัวอย่าง คิวรี

                    


**** การสร้างเงื่อนไขแบบมีพารามิเตอร์ 
           ข้อความที่จะกำหนดให้เป็น Parameter จะต้องพิมพ์ให้อยุ่ภายในเครื่องหมาย [] เท่านั้น และอักษรตัวแรกจะต้องไม่เว้นวรรคกับ [ ห้ามใช้เครื่องหมาย ! หรือ . ภายใน Parameter
  1. Design Query ที่ต้องการจะกำหนด Parameter
  2. คลิกเมาส์ในช่อง Criteria ของ Field ที่กำหนด Parameter
  3. พิมพ์ข้อความที่ต้องการภายในเครื่องหมาย [ ] เช่น [ป้อนประเภทของหนังสือ] จากนั้นคลิกปุ่ม Run 
  1. โปรแกรมจะแสดง Input Box และมีข้อความที่ได้ตีพิมพ์ใน Parameter Query ขึ้นมาให้ ให้ทำกาป้อนเงื่อนไขที่ต้องการในช่องว่าง แล้วคลิกปุ่ม ok
  2. จากนั้น Query ก็ทำการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไขที่ได้พิมพ์เข้าไปใน Parameter




หมายเหตุ     
              กรณีที่เราไม่สามารถจำชื่อเต็มที่จะใช้เป็นเงื่อนไขได้ เช่น ต้องการหาสินค้าที่อยู่ในหมวดหมู่ของ คอมพิวเตอร์  แต่จำไม่ได้ว่าสะกดอย่างไร จึงอยากจะพิมพ์ ค* แต่ถ้าเป็น Parameter จะพิมพ์ไม่ได้ นอกจากใน Design Query จะต้องใส่ Like หน้า Parameter นั้นๆ เช่น Like [ป้อนประเภทของหนังสือ]

*** การบันทึกคิวรี
  1. คลิกที่ไอคอน บันทึก
  2. ตั้งชื่อให้กับคิวรี qry_product_type1
  3. คลิกปุ่ม ตกลง OK





เนื้อหาเพิ่มเติม

**** ตัวอย่างการกำหนดเงื่อนไขใน Query เพื่อค้นหาข้อมูลที่ต้องการ

แบบที่ 1 แสดงข้อมูลเฉพาะประเภท Seafood








แบบที่ 2 ให้แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S








แบบที่ 3 ให้แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S และอยู่ในประเทสินค้า Seafood








แบบที่ 4 แสดงรายชื่อสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S หรือสินค้าประเภท Beverages








แบบที่ 5 แสดงประเภทสินค้า Seafood หรือ Beverages








แบบที่ 6 สร้างเงื่อนไขข้อมูลประเภทตัวเลข







เครื่องหมายเปรียบเทียบที่สามารถใช้ได้
เครื่องหมาย
ความหมาย
มากกว่า
น้อยกว่า
>=
มากกว่าหรือเท่ากับ
<=
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
<> 
ไม่เท่ากับ














 Between 1 and 3 แสดงค่าตั้งแต่ 1 ถึง 3
In(1,2) แสดงค่า 1 หรือ 2
Not Seafood  แสดงค่าที่ไม่ใช่ Seafood



2. ฝึกปฏิบัติ
    ข้อที่ 2. สร้างคิวรีในมุมมองออกแบบ Query Design
    • เลือกตาราง tbl_product  tbl_product  ตาราง tbl_type 
    • เลือก ฟิลด์ product_ID , product_name , product_price จากตาราง tbl_product 
    • เลือกฟิลด์ type_name จากตาราง tbl_type 
    • บันทึกชื่อคิวรี  qry_product_type1


    ** เมื่อทำแบบฝึกปฏิบัติข้อที่ 1 และ 2 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนส่งงานทั้งโฟลเดอร์ ที่ \\192.168.40.29 ในโฟลเดอร์ ส่งงาน แบบสอบถาม

    *****************************